ผลการประเมินคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา
ตามมาตราฐานการอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2559

ตัวบ่งชี้
มาตราฐาน

1

2

3

4

5

6

รวม

เฉลี่ย

1

5

5

-

-

-

-

10

5.0

2

5

5

5

5

5

5

30

5.0

3

5

5

4

5

-

-

19

4.75

4

5

5

-

-

-

-

10

5.0

รวม

-

-

-

-

-

-

69

4.92

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
1. ระดับตัวบ่งชี้
     1.1 ตัวบ่งชี้ที่อยู่ในระดับคุณภาพ “ดีมาก”                        จำนวน    13     ตัวบ่งชี้
     1.2ตัวบ่งชี้ที่อยู่ในระดับคุณภาพ “ดี”                                จำนวน      1     ตัวบ่งชี้
     1.3ตัวบ่งชี้ที่อยู่ในระดับคุณภาพ “พอใช้”                         จำนวน       -     ตัวบ่งชี้
     1.4 ตัวบ่งชี้ที่อยู่ในระดับคุณภาพ “ต้องปรับปรุง”             จำนวน       -     ตัวบ่งชี้
     1.5 ตัวบ่งชี้ที่อยู่ในระดับคุณภาพ “ต้องปรับปรุงเร่งด่วน”  จำนวน       -     ตัวบ่งชี้

2. จุดเด่น
1.   ผู้บริหารทุกระดับมีความมุ่งมั่น พัฒนางานทุกพันธกิจ ได้ผลลัพธ์เป็นที่ประจักษ์ต่อชุมชน สังคม
2.   บุคลากรและนักศึกษา มีผลงานเด่น ได้รับรางวัล ทั้งระดับภาค จังหวัด และระดับชาติ อย่างต่อเนื่อง
3.   บริการวิชาการ แก่ชุมชน สังคม สามารถสร้างประโยชน์ให้หน่วยงาน สถานประกอบการภาครัฐและเอกชน เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของอาจารย์ นักศึกษาในสถานศึกษา และสร้างรายได้ระหว่างเรียนให้แก่นักศึกษา

3.จุดที่ควรพัฒนา
1.   ส่งเสริมผลงานวิจัยที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมหรือบริการวิชาการให้เกิดประโยชน์ แก่ชุมชน สังคม ให้มากขึ้น

4. ข้อเสนอะแนะ
1.   ควรมีมาตรการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้อาจารย์ บุคลากร นำผลงานวิจัยไปตีพิมพ์เผยแพร่ หรือต่อยอดต่อไป
2.   ควรสนับสนุนให้อาจารย์ นักศึกษา บริการวิชาการให้แก่ ชุมชน สังคม มากขึ้น

5. แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 
1.   เตรียมแนวทางการพัฒนามุ่งสู่การประเมินคุณภาพระดับชาติ
2.   พัฒนาการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทวิภาคี
3.   ในการบริการวิชาการและวิชาชีพ นำความรู้ความชำนาญไปต่อยอด เพื่อก่อให้เกิดอาชีพและรายได้ สร้างความโดดเด่นให้แก่วิทยาลัย
4.   สนับสนุนส่งผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ประกวดกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้อาจารย์ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก
5.    จัดทำโครงการคุรุทายาท เพื่อจูงใจให้บุคลากรรักสถาบันตนเอง อยู่ปฏิบัติงานในวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง และแก้ปัญหาการลาออกของบุคลากร ระหว่างปีการศึกษา ทำให้การดำเนินงานของวิทยาลัยเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น